0
ผู้ป่วยในความดูแล
฿
0
+
ค่าใช้จ่ายต่อราย
0
+
ระยะเวลาการรักษา

ภาวะปากแหว่งเพดานโหว่

อุบัติการณ์ สาเหตุ และการป้องกัน

สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้นได้อย่างไร

มีโอกาสที่จะเกิดขึ้นอีกหรือไม่

ปัญหาและภาวะแทรกซ้อน

สิ่งที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วยมีอะไรบ้าง

การดูแลรักษา

โดยทีมสหวิทยาการ อย่างมีระบบ
ข่าวสาร/กิจกรรม
ข่าวสาร

มูลนิธิตะวันฉายฯ เข้าร่วมพิธีลงนามความร่วมมือในโครงการ “สร้างเสริมสุขภาพผ่านเครือข่ายสังคมดิจิทัล”

เมื่อวันที่ 4 กันยายน 2567 ตัวแทนจากมูลนิธิตะวันฉายฯ ซึ่งประกอบด้วย ศ.นพ.บวรศิลป์ เชาวน์ชื่น, พว.สุธีรา ประดับวงษ์, นายเนาวรัตน์ สังคมกำแหง, และ พว.ยุพิน ปักกะสังข์…

อ่านรายละเอียด
มอบรอยยิ้ม
การบริจาคเงินและสิ่งของ

สามารถบริจาคได้ที่ ศูนย์ตะวันฉาย

โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

123 หมู่ 16 ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น 40002

โทรสอบถามได้ที่เบอร์ 0 4336 3502 หรือ 08 1185 1151

การเป็นจิตอาสา

สามารถร่วมทำกิจกรรมเสริมสร้างพัฒนาทักษะได้ในทุกวันศุกร์ที่สองของทุกเดือน

ในช่วงเวลา 08.30-10.00 น. ณ มูลนิธิตะวันฉายฯ

การอุดหนุนผลิตภัณฑ์ของผู้ป่วยและครอบครัว

เพียงเลือกซื้อสิ่งของที่ท่านชื่นชอบ นำไปใช้ หรือมอบเป็นของขวัญ เพียงเท่านี้ก็สามารถมีส่วนร่วมในการมอบโอกาส และสร้างรอยยิ้มแก่น้องตะวันฉาย โดยรายได้ทั้งหมดหลังหักค่าใช้จ่ายจะสมทบทุนกองทุน “ปากแหว่งเพดานโหว่” ของมูลนิธิตะวันฉายฯ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

เรื่องราวของน้องตะวันฉาย

น.ส.ชนกนันท์ สาหมาน และน.ส.ชนกนาถ สาหมาน

น้องชนกนันท์และน้องชนกนาถหรือน้องปูกับน้องปอ สองสาวฝาแฝดที่มีภาวะปากแหว่งเพดานโหว่สองข้างมาตั้งแต่กำเนิด พร้อมมีภาวะกลุ่มอาการโรคร่วม คือ  Ankyloblepharon-Ectodermal Defects-Cleft Lip/Palate (AEC) Syndrome in Monozygotic Twins (Hay-Wells syndrome) ซึ่งมีความผิดปกติของ ฟัน ต่อมเหงื่อ ผิวหนัง ผม นิ้ว ตา และหู ร่วมด้วย  น้องเกิดและเติบโตที่จังหวัดอุบลราชธานี ในปีพ.ศ.2548 โดยอาศัยอยู่กับพ่อ แม่ ป้า และพี่สาวคอยดูแล ครอบครัวของน้องปูและน้องปอไม่เคยคาดคิดมาก่อนว่าลูกของตนจะมีภาวะเช่นนี้ …

อ่านรายละเอียด

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

สปสช

จิตอาสา

สร้างสรรค์รอยยิ้ม

ผู้บริจาค

มอบโอกาส

อุดหนุนสินค้า

ช่วยเหลือผู้ป่วย